3.1 ขั้นเตรียมการ
          ก. อุปกรณ์ในการประดิษฐ์
            1. โต๊ะวางวัสดุอุปกรณ์
            2. แป้งทำขนมปัง
            3. แป้งข้าวโพด (ถ้าไม่มี ไม่ต้องใช้ เพราะแป้งข้าวโพด ใส่ผสม เพื่อให้แป้ง เนียนขึ้น เท่านั้น และใส่เพียง 2-3 ช้อนโต๊ะเท่านั้น)
            4. กาละมังขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 นิ้ว
            5. กาวลาเท็กซ์
            7. โลชั่นทามือ
            7. ถ้วยตวงขนาดไม่ใหญ่มากนัก
            8. สีโปสเตอร์ เช่น แดง ดำ เขียว ขาว เหลือง ฟ้า (อาจใช้แม่สี ผสมได้)
            9. อุปกรณ์ตกแต่งแป้ง ได้แก่ กรรไกร คัทเตอร์ ไม้จิ้มฟัน ลวดอ่อน ฟลอร่าเทป
            10. ถุงพลาสติกขนาด 5 คูณ 8 นิ้ว สำหรับใส่แป้งที่ปั้นแล้ว และใช้เป็นที่รองแป้งปั้น
            11. ยางรัดของ
12. แผ่นไม้อัด
           

          ข.การออกแบบสิ่งประดิษฐ์
ยุคสมัยในปัจจุบันนี้มีปัจจัยมากมายหลายอย่าง ที่เป็นสาเหตุในมนุษย์เกิดความเครียด ทั้งจาการทำงาน จากเรื่องสังคม เรื่องการใช้ชีวิตซึ่งเป็นสาเหตุทำให้คน ในยุคนี้ มีความเครียด มีความไม่สบายใจ ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็มีการสร้างสิ่งบันเทิงและคลายความเครียดอยู่มากมายทั้งมีประโยชน์ ไม่มีประโยชน์  ทั้งก่อให้เกิดโทษกับเราและไม่เกิดโทษ ซึ่ง่ในที่นี้เราจึงได้คิดการทำตุ๊กตาแป้งปั้นเพื่อช่วยให้ผู้ที่ได้พบเห็นได้มีความรู้สึกที่ผ่อนคลาย เมื่อเห็นแล้วยิ้มได้นี้ขึ้นมา โดยการน้ำแป้งที่ผสมเสร็จแล้ว มาปั้นเป็นรูปต่างๆตามที่ต้องการ

 

 

3.2 ขั้นทดลอง
          ก.วิธีการประดิษฐ์
1. การเตรียมการ
1.1 จัดเตรียมแป้งสำหรับให้ทดลองปั้น มีวิธีการเตรียมดังนี้
* ตวงแป้งทำขนมปัง 2 ถ้วย ตวงกาวลาเท็กซ์ ขนาด 1 ถ้วยตวง เทลงกาละมัง
* เทโลชั่นทางมือที่มือ เพื่อป้องกันไม่ให้แป้งและกาวติดมือมากเกินไป
* ใช้มือขยำให้แป้งและกาวให้เข้ากัน
* หมั่นทาโลชั่นที่มือเป็นระยะๆ นวดให้เข้ากันจนเป็นเนื้อเดียวกัน
* แบ่งแป้งเป็นก้อนขนาดกำปั้น และผสมสีแต่ละก้อนตามใจชอบ
* เก็บแป้งที่ผสมสีเสร็จแล้วใส่ในถุงพลาสติก โดยพับปากให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันแป้งแข็งตัว
* นำแป้งที่ได้มาปั้นเป็นรูปที่เราต้องการ

 

            ข. ขั้นตรวจสอบความเรียบร้อย
3.3 ผลงาน ชิ้นงาน
1.  ทดสอบโดยการ นำผลงานที่ทำเสร็จแล้ว ให้เพื่อนๆดู
2. เสียงตอบรับจากเพื่อนๆ เมื่อได้เห็นผลงานที่ทำเสร็จแล้ว คือ   “ฮามากๆ”

ก.รูปชิ้นงาน

 

ข.ส่วนประกอบหรือลักษณะ
1. ไม่ไผ่
2.  ลวด

 

 

 

บทที่ 4
ผลการทดลอง

ทางคณะผู้จัดทำ ได้ทำการ ทดสอบโดยการนำเสนอต่อเพื่อนๆ คำติชมแรกจากพวกเขาได้ทำการบันทึกไว้ดังนี้

                           ภานุ  ลาติวัลย์ (จัมพ์)

                                                        ความรู้สึก     :  “กรี๊ดดด!!!!   น่ารักอ่าขอได้ป่ะ  ชอบมากเลยจริงๆ”
                                                       ข้อเสนอแนะ :  อยากได้ตัวใหญ่ๆอ่ะ ทำได้ป่ะ อยากได้แบบ ตั้งไว้ในบ้านแล้วคนเดินมาสะดุดตา  ไปเลย (หัวเราะ) 

 

                             นิชารัตน์  สิงห์จันทร์ (น้ำแข็ง)

ความรู้สึก : เออ... น่ารักดีเนอะ ตัวเล็กน่ารักดี ชอบตัวมีไฝอ่ะ เหมือนเค้าเลย (หัวเราะ)

                                                                                                                                                                                                                                 ข้อเสนอแนะ :ทำขายได้เลยนะเนี่ยทำเป็นคอลเล็คชั่นครอบครัวอ่ะน่าจะขายดี                                                                                                                                                                          

 

  

วิเชียร  วรรณภากร (เป้)

ความรู้สึก : ชอบตัวนี้อ่ะ (ตัวดัดฟัน) สีสดสวยมาก ยิ้มแฉ่งเลย (เหมือนตัวเองล่ะสิ!)

ข้อเสนอแนะ : ถ้าตัวใหญ่ก็ดีเนอะ จะได้ถ่ายรูปพร้อมกันแบบเหมือนเพื่อนๆ (หัวเราะ)

 

 

 

ตารางประเมิณผล การทดลอง

ชื่อ นามสกุล

หัวข้อที่ประเมิณ

ความประทับใจเมื่อเห็น

การแสดงออกถึงอารมณ์

ความคิดสร้างสรรค์

นาย  คมกฤช           เอี่ยมวิไล

3

2

3

        ชลธิศ              เจียมจิตรพลชัย

2

3

3

         ฐาปนา            บุญชู

3

3

3

        ณัฐวัฒน์          วัฒนสุวรรณ์

3

2

2

        ธาราวุฒิ           โล่กันถัย

2

2

3

        ธิติวุฒิ              ดีมี

3

3

3

        นิตินัย              ช่างทอง

3

3

3

        ภัทรพล            บุญคู่

2

2

3

        ภานุ                ลาติวัลย์

3

3

3

        รัฐพล               ประถมวงษ์

3

1

3

        วรพัฒน์            กิตติวิริยะวงศ์

3

3

3

        วศภณ              เฟื่องสวัสดิ์

3

3

3

        วสันต์               ไชยศิริ

2

3

3

        วิเชียร               วรรณภากร

3

3

3

        วีรชิต                วุฒิสันต์

3

3

3

        ศักดิ์ดา              พรมสร

3

3

3

        สิทธิพงษ์           สัมฤทธิ์

2

3

2

        สุธี                     ตั้งมั่น

3

3

3

        สุรักษ์                สุทธิพิบูลย์

3

3

2

        อนุรักษ์              สวัสดี

2

2

3

        อนุวัตร               ไชยเพชร

3

2

3

       อำพล                 บุญเพียร

1

2

3

        อิทธิวัฒน์            เจริญพืช

3

2

3

        อิศรา                  แพทย์พิบูลย์

3

3

3

        ขริน                    คล่องสั่งสอน

2

1

3

        อธิวัฒน์              รัชตขจรกิจ

3

3

3

ชื่อ นามสกุล

หัวข้อที่ประเมิณ

ความประทับใจเมื่อเห็น

การแสดงออกถึงอารมณ์

ความคิดสร้างสรรค์

 น.ส. กนกพร               สุกสด

3

3

3

        จุฑามาศ             สันหกิตติกุล

3

3

3

        ชุดาภา                พูลรส

3

3

3

        ณัจฉรีย์               สุทธิสัย

3

3

3

        ปาจรีย์               คีรีเลิศ

3

3

3

        วรรณธาณี          สวัสดิมงคล

3

3

3

        วรรษมน             อานามวงษ์

2

3

3

        อารยา                จินตนาธัญชาติ

3

3

3

        อารียา                บุญล้อม

3

3

3

        จันทร์สุดา           จันทคีรีเขต

3

3

3

        ณภัทร                 จั่นสังข์

3

3

3

ทัศนีย์                  สมเรือน

3

3

3

นรีรัตน์                 เพ็ชรพงษ์

3

2

3

นันทนา                 สุขสวัสดิ์

3

3

3

นิชารัตน์               สิห์จันทร์

3

3

3

พรวลัญช์              พรามนุช

3

3

2

อทิตยา                 สุขสิงห์

3

3

3

 

 

 

 

 

                                                                             เกณฑ์การประเมิณ
                                                                                                3  -  ดี
                                                                                                2  -  ปานกลาง
                                                                                                1  -  ต่ำ

 

ผลการประเมิณ
จากการสำรวจนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 5/1 ทั้งหมด 43 คน ดังนี้
ความประทับใจเมื่อเห็น
            -   79.07 % มีความเห็นว่า มีความประทับใจในชิ้นงาน ดี
            -  18.60 % มีความเห็นว่า มีความประทับใจในชิ้นงาน ปานกลาง
            -    2.33 % มีความเห็นว่า มีความประทับใจในชิ้นงาน ต่ำ

การแสดงออกทางอารมณ์
            -   74.42 % มีการแสดงออกทางอารมณ์ต่อผลงานชิ้นงาน ดี
            -   20.93 % มีการแสดงออกทางอารมณ์ต่อผลงานชิ้นงาน ปานกลาง
            -     4.65 % มีการแสดงออกทางอารมณ์ต่อผลงานชิ้นงาน ต่ำ

ด้านความคิดสร้างสรรค์
            -   90.70 % มีความเห็นว่า ชิ้นงานความคิดสร้างสรรค์ ดี
            -     9.30 % มีความเห็นว่า ชิ้นงานความคิดสร้างสรรค์ ปานกลาง
            -     0      % มีความเห็นว่า ชิ้นงานความคิดสร้างสรรค์ ต่ำ

 

 

<<-------หน้าแรก-------->>